วันอังคารที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

หน้าฝนแล้ว คิดเหมือนกันหรือเปล่า ใช่หรือไม่

เมื่อเข้าหน้าฝน ผู้คนที่ประสบกับปัญหาภัยนํ้าท่วม ต่างเริ่มว่าดพวาปีนี้จะท่วมอีกมัย เราหรือผมหรือคุณต่างก็คงลุ่นไม่ให้ท่วมเหมือนปีที่แล้ว ต่างก็มีความคิดต่างนานาว่าต้องทำอย่างนั้นต้องทำอย่างนี้ เราก็ลองคิดกันว่าแบบนี้เหมือนกันหรือเป่ลา....ถ้าทำแบบนี้ถ้าเกิดเหตุการณ์เหมื่อนปีที่แล้วก็คงจะหนักเป็นเบาหรือท่วมน้อยกว่าและใช้ระยะเวลาท่วมไม่นาน  การอยู่อย่างปลอดภัยคือการเรียนรู้ธรรมชาติเพื่อหาทางป้องกันและบรรเทาจากเหตุการณ์ให้เสียหายน้อยที่สุด มีเครื่องมือทางวิทยาศาตร์มากมายที่บงชี้การเกิดมีสถิติของการเกิดจากตามธรรมชาติ พูดถึงหลักการการวางแผนก็จะประกอบไปด้วย ระยะเวลาของการเกิด ธรรมชาติของการเกิด ผลคาดการของเครื่องมือวิทยาศาตร์ สถิติของการเกิดในและละพื้นที่ และการเตรียมการทางระบายนํ้าและเก็บนํ้าแก้มลิงการปฎิบัติให้เกิดผลอย่างเต็มประสิทธิภาพก็จะประกอบไปด้วยผู้เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชน การวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบตามลำดับขั้นตอนการทำงานและทันต่อเหตุการณ์ เริ่มจากการบงชี้ทางเครื่องมือวิทยาศาสตร์ พื้นทีที่จะเกิด และการเกิดขึ้นจาากสถิติที่เคยเกิด หน่วยเฝ้าระวังจะเป็นด่านแรกของแต่ละพื้นที่และเป็นข้อมูลการตัดสินใจในการดำเนินการต่อไป ถ้าจะต้องลงรายละเอียดคงต้องไปดูแต่ละหน่วยงานของราชการมีอำนาจหน้าที่อะไรดำเนินการได้มากน้อยเท่ารัยจะสอดคล้องกันอย่างรัย ภาคประชาชนต้องทำอย่างรัย ภาคเอกชนสนันสนุนในด้านอะไรและทำอะไรได้บาง คงจะต้องเขียนกันยาวและรายละเอียดคงจะมาก แบบย่อ เริ่มตั้งแต่การเกิด ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่ เดือนพฤษภา ถึงเดือนปลายเดือนตุลาคม ตกตั้งแต่เหนือลงมาใต้ เงื่อนไขการระบายนํ้า จำนวนปริมาณนํ้า (ตกน้อยระบายมากก็กระทบแล้ง) ระยะเวลาที่เกิด เกิดขึ้นจากทางไหนก่อนหรือหลัง ระยะเวลาการหนุมของนํ้าทะเล  หมายเหตุเมื่อรัยก็ตามที่ฝนตกท้ายเขื่อนหรือปลายทางการไหลลงทะเลเป็นจำนวนมากแล้วละบายออกลงทะเลไม่ทัน แล้วเกิดฝนตกหนักที่เหนือเขื่อนทำให้นํ้าเต็มเขื่อน แล้วฝนลงซํ้าอีกครั้ง ยังไงก็ท่วม