วันอาทิตย์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ใช่ - หรือ ไม่ใช่ ...ยึด แลก แจก แถบ ป่า

 ...ยึด แลก แจก แถบ ป่า ..การมีกฏอัยการศึกเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการจัดการที่มีข้อกฏหมายที่ซับซ้อนและเอื้อต่อผู้กระทำความผิด ปัญหาด้านทรัพย์พยากรป่าไม้และที่เกี่ยวเนื่องกับที่ทำกินเป็นปัญหามานานและส่งผลรุ่นแรงมากขึ้นด้วยเหตุ ป่าไม้เป็นแหล่งต้นนํ้าเป็นแหล่งก่อก่อกำเนิดสิ่งมีชีวิตและป้องกัน สิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะมนุษย์หรือที่เรียกกันว่าคน มีปัจจัย4เป็นเครื่องยังชีพหรือการดำรงค์ชีวิตในอยู่รอดปลอดภัย ปัจจัย4 ก็คือทรัพย์กรจากธรรมชาติ นํ้ากับอากาศ เป็นปัจจัยยังหลักในการมีชีวิต ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็ไม่มีสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้ สองสิ่งนี้คือนํ้ากับอากาศผลิตโดยสิ่งมีชีวิตคือต้นไม้ ต้นไม้หายใจออกมาเป็นอ็อกซิเจนตอนกลางวันและคายคาร์บอนน๊อกไชต์ในตอนกลางคืน เมื่อมีจำนวนต้นไม้ที่หนาแน่นก็จำให้เกิดฝน เมื่อมีจำนวนฝนที่มากก็ดูดซับนํ้าฝนไม่ให้เกิดความรุ่นแรง เป็นต้น ถ้าจะอธิบายคุณประโยชน์ของต้นไม้คงจะอธิบายกันไม่หมด ประโยชน์ของกฏอัยการศึก ..พูดถึง "ยึด" ถ้าเป็นไปตามปกติอายุร้อยปียังยึดกันไม่ได้เลยและคงมีคนกระทำความผิดกันเป็นจำนวนมากสุดท้ายก็หาคนผิดไม่ได้เพราะผิดกันหมด ถ้ากฏอัยการศึก ตรวจสอบค้นผิดกฏหมาย ยึดคืนหลวง รื้อสิ่งปลูกสร้างทำให้กลับเป็นธรรมชาติดังเดิม ..ถ้าพูดถึง "แลก" ชุมชนที่อยู่กับป่ามาเนินนานตรวจสอบเป็นที่ชัดเจนกำหนดพื้นที่ให้ชัดเจนส่งเสริมให้อยู่กับป่าดูและป่าพึ่งพาป่าเพื่อการดำรงด์ชีวิตไม่รุกป่าเพิ่ม ..ถ้าพูดถึง "แจก" เมื่อตรวจสอบเป็นที่ชัดเจนกำหนดเขตอันไหนป่าสงวนบุกรุกผิดกฏหมายอย่างรุ่นแรง อันไหนกำหนดเป็นป่าเสื่อมโทรมสามารถทำกินได้ สปก ทำกินสามารถใช้เป็นหลักทรัพย์ในการประกอบอาชียทางด้านเกษตรกรรมส่งเสริมปลูกป่าไม้เศรษฐกิจ ห้ามทำอย่างอื่น สค.สามารถใช้ทำกินสร้างอาชีพในด้านเกษตรกรรม ส่งเสริมปลูกป่าไม้เศรษฐกิจ ..พูดถึง "แถม" หากมีเอกชนผู้ลงทุนในการปลูกไม้เศรษฐกิจในพื้นทีท่ถูกต้องก็ให้สิทธิพิเศษบางประการในการส่งเสริม การดำเนินการจะให้ได้มีประสิทธิภาพการจัดการเป็นสิ่งที่สำคัญข้อกำหนดที่ชัดเจนในแต่ละเขตพื้นทีกฏหมายที่รุ่นแรงไม่เอื้อต่อผู้กระทำความผิดและมีการตรวจสอบอย่างต่อเนื่องเพื่อไม่เปิดโอกาสต่อผู้กระทำความผิด ..ใช่ - หรือ - ไม่ใช่พอสังเขป

วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ใช่ - หรือ - ไม่ใช่ ..กฏหมายถูกใจผู้ใช้บังคับใช้และผู้ถูกบังคับใช้

ใช่ หรือ ไม่ใช่ ...เห็นข่าวพิจารณารัฐธรรมนูญชั่วคราวทำให้นึกถึงรัฐธรรมนูญที่ใช้เมื่อคราว ที่มีคณะทำงานจาการเลือกตั้งจากประชาชนเพื่อบริหารประเทศและออกกฏหมายในการบังคับใช้โดยการผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภาที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ จึงเป็นที่มาของเสียงข้างมากที่ออกกฏหมายไปในทางที่มิชอบแต่ถูกด้วยกฏหมาย ของรัฐธรรมนูญที่กำหนดไว้จากเสียงข้างมาก คนออกกฏหมายไม่ได้เป็นผู้ปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติบังคับใช้กฏหมายไม่ได้เป็นผู้ออก ผู้ถูกบังคับใช้ไม่มีส่วนร่วมและรับรู้ในขอบังคับใช้ของกฏหมายนั้นๆ จะเห็นได้ว่าผู้ออกกฏหมายจากเสียงข้างมาก และจากการคัดเลือกเป็นช่องว่างในการออกกฏหมายไปในทางทีมิชอบและออกเพื่อเป็น ประโยชน์ต่อฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ...เพียงแต่รัฐธรรมนูญที่จะใช้ในปัจจุบันยังคงใช้สภาเพื่อรับรองกฏหมาย..เพียงแต่ผู้เสนอกฏหมายให้สภาเห็นชอบในกฏระเบียนข้อบังคับใช้ไม่ใช่คณะรัฐบาลหรือตัวแทนจากประชาชน..แต่เป็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชนมีส่วนร่วมและรับรู้ในข้อกำหนดนั้นๆในส่วนของข้อบังคับใช้ในตัวบทกฏหมาย จะเพิ่มความลำบากในการใช้เงินเป็นแรงจูงใจให้กระทำความผิดได้มากจากเคยใช้ เงินจูง 2 ใน 3 ส่วนก็มีผลบังคับใช้ แต่นี่ต้องใช้เงินจูงถึง 4 ใน 5 ส่วนจึงจะสามารถทำได้