วันศุกร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2556

-ใช่ หรือ -ไม่ใช่ เราทุกคนหุ้นส่วนประเทศไทย

-ใช่ หรือ -ไม่ใช่ เราไม่ได้ทำงานแบงค์หรือคลัง เราไม่ได้ฝ่ายไหนๆ เราไม่มีหน้าที่เกี่ยวคล้องใดๆในภาคส่วนใด แต่เราเป็นหุ่นส่วนประเทศไทย โครงการต่างๆทั้งประชานิยมและไม่นิยม และโครงการพื้นฐานต่างๆ ทางนํ้า ทางอากาศ ทางบก ทั้งในและนอกประเทศ ไม่ว่ารัฐบาลไหนๆที่ขึ้นมาบริหารประเทศนำพาประเทศให้ทัศเทียนนานาประเทศ ได้คิดหรือสานต่อให้ดียิ่งขึ้นมีประสิทธิ์ภาพมากขึ้น จะกี่พันกี่หมื่นกี่ล้านล้านบาท ก็ด้วยเงินของท่านทุกๆคนภายในประเทศมีรายได้มากได้มีส่วนมากมีรายได้น้อยได้มีส่วนน้อยทุกๆการซื้อขายทุกๆสินค้าเมื่อเราซื้อหรือขายจำหน่ายเรามีส่วนจ่ายภาษีในสินค้าเหล่านั้นในทุกๆบาท เอาเป็นว่าภาษีคือเงินที่นำมาพัฒนาเพื่อความสะดวกต่อส่วนรวมในการทำกิจกรรมทุกๆอย่าง ตามปัจเจกหรือตามความเป็นจริงการลงทุนย่อมเกิดผล เพียงแต่ผลที่ต้องการเพื่อสนองต่อสิ่งใด ทุกๆการลงทุน มีกำไรและขาดทุน เป้าหมายของการลงทุน ต้องการผลและเป้าหมายอย่างไร การลงทุนย่อมมีองค์ประกอบต่างๆเพื่อผลที่ได้มาซึ่งเป้าหมายที่ต้องการ เมื่อโครงต่างๆเป้าหมายเพื่อส่วนรวม เมื่อโครงการต่างๆเงินลงทุนเป็นของทุกๆคน ทุกๆคนเป็นหุ้นส่วนในผลของเป้าหมายนั้นๆ ตามกฏกติกาที่ทุกๆคนได้ใช้ร่วมกัน ในความเป็นหุ่นส่วน ของเป้าหมายส่วนรวม เป็นไปไม่ได้ที่ทุกๆหุ่นส่วนจะดำเนินการ แต่เป็นหน้าที่ทีทุกๆหุ่นส่วนต้องรู้และตรวจสอบผลการลงทุน ตั้งแต่งโครงการ -ทำอะไรบาง -ลงทุนเท่าไร -ระยะเวลาลงทุน -จุดคุ้มทุน -รายละเอียดของการทำให้เกิดจุดคุ้มทุนในแต่ละโครงการ -รายละเอียดผลกำไรของการลงทุนในแต่ละโครงการ -ผลกระทบในระหว่างการลงทุน ด้วยเหตุและประสบเหตุด้วยกันทั้งประเทศ ทุกคนๆ ทุกๆฝ่าย ต่างมีหน้าที่ เพื่อเป้าหมายส่วนรวมเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่งผลที่เกิดของใครคนหนึ่ง โครงการต่างๆถ้าอิงจากความเป็นประเทศไทศมาอย่างช้านานผลที่เกิดย่อมเกิดผลที่ดี และมีประโยชน์ไม่ขัดแย้งพฤติกรรมนิสัยและธรรมชาติที่เป็นมาอย่างช้านาน ชนะอะไรชนะได้แต่อย่างพยายามเอาชนะธรรมชาติอยู่อะไรอยู่ได้ถ้าอยู่อย่างเค้าใจธรรมชาติเกื้อนุนเกื้อกูลส่งเสริม แสงสีวิไลความสุขบังเกิด กล่าวร้ายกล่าวหาขัดแย้งเอาเปรียบไม่มีความสามัคคี ทางร่มสลายดังเช่นบนเรียนอดีดประวัติชาติไทยที่มีมาทุกยุคทุกสมัยที่รัยความเป็นไทย ทุกข์แสนทอรามารเมื่อเข้าสู้เหตุนั้นๆเดือดร้อนไปทุกย้อมหญ้า (ภัยมีทุกรูปแบบ มีทุกเวลาเมื่อมีโอกาส)

วันพุธที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556

ลืมกันกันไปหรือเปล่า ใช่-หรือ-ไม่ใช่

หลายๆอย่างต่างฝ่ายต่างมีปัญหากันอยู่ลองพิจารณากันดีดีประเทศของเรามี วิวัฒนาการหลายๆอย่างเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง มีรูปแบบเฉพาะอยู่แล้ว เพียงหาจุดร่วมกันปรับเปลี่ยนให้ทันยุคทันสมัยไม่มีความจำเป็นต้องลอกเรียนแบบต่างประเทศที่เค้าก็มีเฉพาะของเค้า เพียงแต่นำรูปแบบให้สอดคล้องในการติดต่อสือสารและมีกติกาที่ใช้ร่วมกันในยุคที่เปิดกว้างเสรีในการติดต่อเศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ภายในประเทศของเราและประเทศของเค้า เอกราชประเทศไทยแต่ละยุคแต่ละสมัยและปัจจุบัน เศรษฐกิจ สังคม การปกครอง ถูกกลั่นกลองตกผลึ่งเป็นรูปแบบเฉพาะและอุปนิสัยเฉพาะของการอยู่ร่วมกันมาอย่างยาวนาน รูปแบบวิชาความรู้ที่ต่างกล่าวอ้างโดยใช้เป็นมาตรฐานในการต่อสู้ทางความคิดกันอยู่ทุกวิชาทุกรูปแบบทุกเทษฎีต่างเขียนขึ้นจากประสพการที่ตกผลึ่งมาอย่างยาวนานผ่านร้อนผ่านหนาวมาจากความเป็นจริงตามวิวัฒนาการด้วยกันทั้ง ทุกๆขอความในวิชาความรู้ต่างถอดบทความจากความเป็นจริงต่างยุคต่างสมัยต่างบันทึกเป็นอักษรเพือเป็นตำราแนวทางทางไม่ให้ผิดซำแล้วซำอีก แต่ด้วยเป็นสิ่งมีชีวิตสังคมที่มีสมองคิด แต่ถ้ายึดรูปแบบที่เป็นของส่วนใหญ่แล้วมีวิธีที่ต่อยอดออกไปจากรูปแบบเดิม ความวุ่นวายคงมีน้อยกว่านี้สิ่งดีดีคงเกิดขึ้นมายมาย

วันจันทร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556

กฏหมายกับความเชื่อ ใช่-หรือ-ไม่ใช่

กฏหมายกับความเชื่อ ใช่-หรือ-ไม่ใช่ ถ้ากฏหมายมีความศักดิ์สิทธิ์ดังเช่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เรานับถือหรือที่เราเชื่อมีความเชื่อ การกระทำผิดตามกติกาคงจะมีไม่มาก กฎหมายคือกติกาที่ใช้ในคนหมู่มากมีระเบียบข้อบังคับมีแยกเป็นการลงโทษหนักและการลงโทษเบาเมื่อกระทำผิดกฏกติกา ความเชื่อคือสิ่งศักดิ์สิทธิ์สิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้อาจมองเห็นได้จากความเชื่อวิทยาศสตร์เรียกว่าจิตนาการทางความคิดหรือเกิดขึ้นเองโดยที่ไม่คาดคิด หรืออะไรก็ตามแต่ที่ตั้งใจให้เกิดที่เรียกว่ามิติข้ามเวลา ส่วนกฏหมายเป็นกติกาที่ใช้ร่วมกันเพื่อความเป็นระเบียบต่อคนหมู่มากหรือจำนวนที่มาก เมื่อมีกติกาก็ต้องมีผู้รักษากติกาและมีมีผู้บังคับใช้กติกาและมีผู้ตัดสินกติกาเมือเกิดข้อพิพาษ เป็นไปตามวิวัฒนาการของการอยู่รวมกันของจำนวนคนที่มาก ความเป็นระเบียบร้อยของคนจำนวนมากดูได้จากข้อกติกาที่บังคับใช้และผู้รักษากติกา จะเป็นระเบียบหรือมัยเป็นระเบียบอยู่ที่อยู่ภายใต้กฏหมายหรืออยู่เหนือกฏหมายจะเป็นอย่างนี้ได้ก็ต้องอยู่ที่ผู้รักษากฏกติกาคือกฏหมายผู้บังคับกฏกติกาคือผู้บังคับใช้กฏหมายและผู้ตัดสินข้อกติกาคือผู้ตัดสินในกฏกติกาคือกฏหมายในเรื่องนั้นๆผิดหรือไม่ผิดในกฎกติกาคือกฏหมาย  -ต่อ

วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2556

ใช่ - หรือ-ไม่ใช่ -อำมาตย์-

ใช่ - หรือ-ไม่ใช่  -อำมาตย์- คือ ข้าเฝ้า ที่ปรึกษา ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่มีความสำคัญและใกล้ชิดกับพระราชาเคยใช้เป็นยศพลเรือน [1]จัดเป็น ๓ ชั้น คือ รองอำมาตย์ อำมาตย์ มหาอำมาตย์ ชั้นหนึ่งมี ๓ คือ เอก โท ตรี แต่ชั้นมหาอำมาตย์มีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง คือ มหาอำมาตยนายก เป็นชั้นพิเศษ ยศดังนี้เลิกใช้ เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕[2]

ที่ปรึกษาชั้นผู้ใหญ่ที่มีความสำคัญและใกล้ชิดกับพระราชาเช่น สมุหนายก มีหน้าที่ ผู้ว่าราชการแทนพระมหากษัตริย์บริหารแผ่นดิน สมุหกลาโหม ควบคุมเกี่ยวกับทางทหารทั่วประเทศ มหาดเล็ก และ ราชครู
- กล่าวอ้างจากข้อความ ของคำว่าอำมาตย์ ชื่อต่างๆเมื่อครั้งยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๔ ก็ยังคงเป็นเช่นเดินในด้านหน้าที่ความรับผิดชอบเพียงแต่เปลี่ยนชื่อเรียก และเปลี่ยนวิธีการที่มาของตำแหน่งบางหน้าที่ จากอาดีตอำนาจส่วนใหญ่จะอยู่ที่กลุ่มคนที่รักบ้านเมืองทำเพื่อส่วนร่วมโดยแท้จริงไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้องในสภาวะเช่นนั้นแต่ก็ยังมีคนที่เห็นประโยชน์ส่วนตัวเป็นที่ตั้ง ด้วยสภาวะที่มีสงครามแยกพื้นที่ประชากรส่วนใหญ่จะมีความสามัคคีและมีจุดศูนย์กลางเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ สภาวะปัจจุบันที่เป็นเหตุ สภาพแวดล้อมของประเทศเปลี่ยนไป จากที่มีสงครามเป็นสิ่งเล้า(คือภัย) แต่ในปัจจุบันไม่มี การปล่อยวางอำนาจที่แบกรับหน้าที่ของพี่น้องทั้งประเทศจากภัยสงครามเมื่อถ้าไม่มีเอกราชยิ่งกว่าทาสในเรือนเบี้ย วิวัฒนาการการปกครองก็เริ่มเปลี่ยนโดยให้โอกาส แก่ผู้ที่ไม่โอกาส ทั้งๆที่สืบทอดอำมาตย์จากอำนาจหน้าที่ที่ไม่มีโอกาส และผู้ที่มีความรู้ความสามารถมากขึ้น ด้วยหลักของคำว่าประชาธิปไตย์ ประชาชนส่วนใหญ่ที่ไม่ความรู้และไม่มีสงครามเป็นสิ่งเล้ามีแต่เรื่องปากท้องที่ทำกินจึงถูกครอบงำได้ง่ายโดยวิถีชีวิตที่สืบทอดกันมา โดยอะไรก็แล้วแต่ที่ต่อสู้ทางความคิดกันทุกวันนี้ ก็คืออำมาตย์ด้วยกันทั้งนั้น กล่าวอ้างฝ่ายโน้นอำมาตย์ฝ่ายนี้อำมาตย์ และด้วยวิวัฒนาการปกครองที่รองผิดรองถูกและกระจายอำนาจที่เปลี่ยน แต่เป็นลักษณะเก่าก่อนที่เป็นมาโดยปกครองที่ไม่ปกครองเพียงแต่เปลี่ยนชือที่เรียก โดยมีโจทย์ที่เรียกว่าการปกครองแบบท้องถิ่น