วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2556

ใช่ - หรือ-ไม่ใช่ -อำมาตย์-

ใช่ - หรือ-ไม่ใช่  -อำมาตย์- คือ ข้าเฝ้า ที่ปรึกษา ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่มีความสำคัญและใกล้ชิดกับพระราชาเคยใช้เป็นยศพลเรือน [1]จัดเป็น ๓ ชั้น คือ รองอำมาตย์ อำมาตย์ มหาอำมาตย์ ชั้นหนึ่งมี ๓ คือ เอก โท ตรี แต่ชั้นมหาอำมาตย์มีสูงขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง คือ มหาอำมาตยนายก เป็นชั้นพิเศษ ยศดังนี้เลิกใช้ เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕[2]

ที่ปรึกษาชั้นผู้ใหญ่ที่มีความสำคัญและใกล้ชิดกับพระราชาเช่น สมุหนายก มีหน้าที่ ผู้ว่าราชการแทนพระมหากษัตริย์บริหารแผ่นดิน สมุหกลาโหม ควบคุมเกี่ยวกับทางทหารทั่วประเทศ มหาดเล็ก และ ราชครู
- กล่าวอ้างจากข้อความ ของคำว่าอำมาตย์ ชื่อต่างๆเมื่อครั้งยังไม่ได้เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๔ ก็ยังคงเป็นเช่นเดินในด้านหน้าที่ความรับผิดชอบเพียงแต่เปลี่ยนชื่อเรียก และเปลี่ยนวิธีการที่มาของตำแหน่งบางหน้าที่ จากอาดีตอำนาจส่วนใหญ่จะอยู่ที่กลุ่มคนที่รักบ้านเมืองทำเพื่อส่วนร่วมโดยแท้จริงไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้องในสภาวะเช่นนั้นแต่ก็ยังมีคนที่เห็นประโยชน์ส่วนตัวเป็นที่ตั้ง ด้วยสภาวะที่มีสงครามแยกพื้นที่ประชากรส่วนใหญ่จะมีความสามัคคีและมีจุดศูนย์กลางเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ สภาวะปัจจุบันที่เป็นเหตุ สภาพแวดล้อมของประเทศเปลี่ยนไป จากที่มีสงครามเป็นสิ่งเล้า(คือภัย) แต่ในปัจจุบันไม่มี การปล่อยวางอำนาจที่แบกรับหน้าที่ของพี่น้องทั้งประเทศจากภัยสงครามเมื่อถ้าไม่มีเอกราชยิ่งกว่าทาสในเรือนเบี้ย วิวัฒนาการการปกครองก็เริ่มเปลี่ยนโดยให้โอกาส แก่ผู้ที่ไม่โอกาส ทั้งๆที่สืบทอดอำมาตย์จากอำนาจหน้าที่ที่ไม่มีโอกาส และผู้ที่มีความรู้ความสามารถมากขึ้น ด้วยหลักของคำว่าประชาธิปไตย์ ประชาชนส่วนใหญ่ที่ไม่ความรู้และไม่มีสงครามเป็นสิ่งเล้ามีแต่เรื่องปากท้องที่ทำกินจึงถูกครอบงำได้ง่ายโดยวิถีชีวิตที่สืบทอดกันมา โดยอะไรก็แล้วแต่ที่ต่อสู้ทางความคิดกันทุกวันนี้ ก็คืออำมาตย์ด้วยกันทั้งนั้น กล่าวอ้างฝ่ายโน้นอำมาตย์ฝ่ายนี้อำมาตย์ และด้วยวิวัฒนาการปกครองที่รองผิดรองถูกและกระจายอำนาจที่เปลี่ยน แต่เป็นลักษณะเก่าก่อนที่เป็นมาโดยปกครองที่ไม่ปกครองเพียงแต่เปลี่ยนชือที่เรียก โดยมีโจทย์ที่เรียกว่าการปกครองแบบท้องถิ่น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น